
ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุมาแล้วเกือบ 10 ปีก่อนหน้านี้ โดยที่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไม่ได้มีการวางแผนการออมมาตั้งแต่ช่วงที่ยังอยู่ในวัยทำงาน ในขณะที่ระบบ บำนาญของประเทศเองยังมีความเหลื่อมล้ำและแยกกันอยู่ กล่าวคือ
ภาครัฐ => มี กบข. เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ มีกองทุนสงเคราะห์ครู หรือประกันสังคมส่งเสริมการเก็บเงินสมทบลูกจ้างนายจ้าง
คุณสมบัติพื้นฐาน
หน้าที่และความรับผิดชอบ
คุณสมบัติ
สวัสดิการ
ภาคเอกชน => มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ภาคประชาชน => ต่างคนต่างออม ใครไม่มีหนี้ก็ออมเอง แต่ส่วนใหญ่ยังขาดการตระหนักรู้ถึง ความจำเป็นของการออมเพื่อการเกษียณของตนเอง
ซึ่งระบบบำนาญทั้ง 3 มิตินั้นก็แยกการควบคุมจัดการไปแต่ละส่วน ขาดการบริหารและมองภาพรวม และต่อมาเมื่อพระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติมีผลบังคับใช้เมื่อปี พ.ศ. 2554 การปฏิบัติตามกฎหมายก็ถูกละเลยและ ‘ชะลอ’ การดำเนินงานไว้ ประชาชนกว่า 25 ล้านคนซึ่งอยู่ในเงื่อนไขของผู้มีสิทธิเป็นสมาชิกกองทุนไม่สามารถใช้สิทธิของตนตามกฎหมาย จนเวลาล่วงเลยมาถึงปี พ.ศ. 2557 ที่รัฐบาลได้ผลักดันให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมายจนกองทุนการออมแห่งชาติสามารถเปิดรับสมัครสมาชิกได้ ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2558
กล่าวได้ว่า เป็นครั้งแรกที่ระบบบำนาญของประเทศไทยมีกรอบการดำเนินงานครบถ้วนรองรับประชาชนทุกภาคส่วน สามารถลดความเหลื่อมล้ำของสังคมในมิติด้านการออมเพื่อการเกษียณได้ หากมีการออมต่อเนื่องยาวนาน ก็จะสามารถมีความมั่นใจได้ว่าประชาชนของประเทศจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ในวัยชรา
เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนสมาชิก / เจ้าหน้าที่อาวุโสฝ่ายทะเบียนสมาชิก
กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)15/01/2020
งานประจำ
3 - 8 ปี
กทม. (พญาไท)
ปริญญาตรี
สามารถเจรจาต่อรองได้
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบัญชี/การเงิน หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- หากมีประสบการณ์ด้านงานทะเบียนหรืองานด้านฐานข้อมูลจะพิจารณาเป็นกรณีพิเศษ
- หากมีประสบการณ์ในหน่วยงานภาครัฐจะพิจารณาเป็นพิเศษ
- สามารถใช้โปรแกรม Microsoft Office Advance Excel,Word และ Point เป็นอย่างดี
- ค่าทำงานล่วงเวลา
- ทำงานสัปดาห์ละ 5 วัน
- ประกันสุขภาพ
- สิทธิเบิกค่าทันตกรรม
- โบนัสตามผลงาน/ผลประกอบการ
ตำแหน่งงานอื่น ๆ ที่น่าสนใจ